งานวิจัย ของ Anti-vascular endothelial growth factor therapy

VEGF ยังสามารถยับยั้งด้วย thiazolidinediones (ซึ่งใช้กับโรคเบาหวานแบบ 2 และโรคที่สัมพันธ์กันอื่น ๆ) และผลเช่นกันต่อ granulosa cell ในรังไข่ทำให้ยาอาจใช้ในอาการ ovarian hyperstimulation syndrome ซึ่งเกิดจากการกินยาเพื่อเพิ่มการทำงานของรังไข่[12]

งานปริทัศน์แบบคอเครนปี 2013 เพื่อกำหนดประสิทธิผลของยาต้าน VEGF เช่น ranibizumab และ bevacizumab ในการลดความดันตาในคนไข้ที่มีต้อหินแบบเส้นเลือดงอกใหม่ (neovascular glaucoma) ไม่สามารแสดงผลที่ชัดเจน เพราะต้องมีงานวิจัยเพิ่มเพื่อเปรียบเทียบกับการรักษาปกติอื่น ๆ[13]ส่วนงานปริทัศน์อัปเดตปี 2017 พบหลักฐานพอสมควรว่า สำหรับคนไข้ที่มีจุดภาพชัดบวมเนื่องกับโรคเบาหวาน aflibercept อาจช่วยให้ตาดีขึ้นเทียบกับเมื่อใช้ bevacizumab หรือ ranibizumab หลังจากปีหนึ่งผ่านไป[14]

แหล่งที่มา

WikiPedia: Anti-vascular endothelial growth factor therapy http://www.cell.com/cancer-cell/abstract/S1535-610... http://www.cell.com/cancer-cell/abstract/S1535-610... http://www.nature.com/nrc/journal/v8/n8/abs/nrc244... http://patentdocs.typepad.com/patent_docs/2007/10/... http://www.fda.gov/NewsEvents/Newsroom/PressAnnoun... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1954941 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2847675 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2874829 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2874834 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4261636